ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

เกออร์กี จูคอฟ

เกออร์กี คอนสแตนตีโนวิช จูคอฟ (อังกฤษ: Georgy Konstantinovich Zhukov; รัสเซีย: ???????? ??????????????? ??????; 1 ธันวาคม พ.ศ. 2439 – 18 มิถุนายน พ.ศ. 2517) เป็นนายทหารอาชีพชาวโซเวียตในกองทัพแดง ซึ่งในห้วงสงครามโลกครั้งที่สองมีบทบาทสำคัญที่สุดในการนำกองทัพแดงยกผ่านยุโรปตะวันออกส่วนใหญ่เพื่อปลดปล่อยสหภาพโซเวียตและชาติอื่นจากการยึดครองของฝ่ายอักษะและพิชิตกรุงเบอร์ลินได้ในที่สุด เขาเป็นนายพลที่ได้รางวัลมากที่สุดในประวัติศาสตร์สหภาพโซเวียตและรัสเซีย

เป็นนายพลที่ขึ้นชื่อที่สุดคนหนึ่งในสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งได้ลำดับแรก ๆ เพราะจำนวนและขนาดของชัยชนะ และคนจำนวนมากยอมรับความสามารถในการบังคับบัญชาทางปฏิบัติการและยุทธศาสตร์ของเขา สัมฤทธิภาพการรบของเขาพัฒนาความรู้ทางทหารของมนุษยชาติอย่างสำคัญ โดยมีอิทธิพลมากทั้งต่อทฤษฎีทางทหารของโซเวียตและทั้งโลก

ชูคอฟเกิดในครอบครัวชาวนารัสเซีย พ.ศ. 2458 ถูกเกณฑ์เข้าเป็นทหารในกองทัพบกจักรวรรดิรัสเซีย ระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เขารบได้อย่างกล้าหาญ จึงได้รับเหรียญตราและถูกเลื่อนยศ หลังการปฏิวัติเดือนตุลาคม แห่งปี พ.ศ. 2460 ชูคอฟเข้าร่วมกับพรรคบอลเชวิค และต่อสู้ในสงครามกลางเมืองรัสเซีย ช่วงปี พ.ศ. 2461 - พ.ศ. 2464 ต่อมาเมื่อ พ.ศ. 2466 เขาขึ้นเป็นผู้บัญชาการกรม พ.ศ. 2473 เป็นผู้บัญชาการกองพัน ชูคอฟเป็นผู้สนับสนุนคนสำคัญในทฤษฎีใหม่ของสงครามยานเกราะ เขาโดดเด่นเรื่องการวางแผนการรบที่เต็มไปด้วยรายละเอียดมากมาย เขาเน้นระเบียบวินัยและความเข้มงวด เขาเป็นหนึ่งในบรรดานายทหารไม่มากนักที่รอดพ้นจากการกวาดล้างกองทัพครั้งใหญ่ของสตาลิน ช่วงปี พ.ศ. 2481 - พ.ศ. 2482

พ.ศ. 2481 ชูคอฟ เป็นผู้บัญชาการกลุ่มกองทัพโซเวียตมองโกเลียที่ 1 และเป็นผู้บัญชาการรบกับกองทัพกวางตุ้งของญี่ปุ่นที่บริเวณพรมแดนมองโกเลียกับรัฐแมนจูกัวของญี่ปุ่นในสงครามอย่างไม่เป็นทางการช่วงปี พ.ศ. 2481 - พ.ศ. 2482 ที่เริ่มจากการกระทบกระทั่งรายวันตามแนวพรมแดน โดยญี่ปุ่นหวังจะทดสอบกำลังในการป้องกันเขตแดนของฝ่ายโซเวียต จนเรื่องนี้กลายเป็นสงครามเต็มรูปแบบอย่างรวดเร็ว ที่เรียกว่า การรบแห่งฮาลฮิน โกล ญี่ปุ่นทุ่มกำลังพล 80,000 นาย รถถัง 180 คัน และอากาศยาน 450 ลำเข้าสู่สงคราม งานนี้ชูคอฟสามารถพิชิตฝ่ายญี่ปุ่นได้โดยง่าย และได้รับตำแหน่งเป็นวีรบุรุษแห่งสหภาพโซเวียตแต่ชื่อเสียงของเขาไม่เป็นที่รู้จักในภายนอก เพราะช่วงนั้นเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 พอดี ชาติตะวันตกไม่สนใจการรบแบบยานเกราะเคลื่อนที่ที่เขานำมาลองใช้ที่ ฮาลฮิน โกล สงครามสายฟ้าแลบของเยอรมันต่อฝรั่งเศส จึงสร้างความประหลาดใจให้กับผู้คนมากมาย

ชูคอฟ ได้รับการเลื่อนยศเป็นพลเอกในปี พ.ศ. 2483 ระหว่างเดือนมกราคม - กรกฎาคม พ.ศ. 2484 เขาเป็นประธานเสนาธิการกองทัพแดง แต่เพราะความขัดแย้งกับสตาลิน เขาจึงถูกปลด หลังจากที่นาซีเยอรมนีบุกสหภาพโซเวียตได้ไม่นาน

มูลเหตุของความขัดแย้งกับสตาลินในครั้งนั้น ก็คือชูคอฟ ซึ่งเป็นหนึ่งในนายทหารไม่กี่คน ที่กล้าที่จะท้วงติงผู้นำ เขาทักท้วงสตาลินว่า เคียฟคงจะทานการรุกของข้าศึกไม่ไหว ทางที่ดีน่าจะถอยทัพออกมาก่อน แต่สตาลินไม่พอใจอย่างมาก จึงปลดเขาจากตำแหน่งเมื่อ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2483 และส่งไปดูแลการรบที่เลนินกราด แต่ในที่สุดแล้วชูคอฟก็พิสูจน์ว่าเขาเป็นฝ่ายถูก เมื่อโซเวียตเสียทหารไปถึงครึ่งล้านที่เคียฟ

ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2484 เมื่อข้าศึกรุกเข้าประชิดกรุงมอสโก ชูคอฟถูกเรียกตัวมาเป็นผู้บัญชาการแนวรบกลาง แทนนายพล เซมิยอน ติมาเชนโก เพื่อปกป้องกรุงมอสโก ซึ่งเขาก็ทำได้สำเร็จ เมื่อสามารถผลักดันข้าศึกให้ถอยออกไปจนมอสโกพ้นขีดอันตราย ความสำเร็จนี้ทำให้สตาลินยอมรับฟังความคิดเห็นของนายพลของเขามากขึ้น และยอมถูกวิจารณ์มากขึ้น และชูคอฟก็กลับมาเป็นนายทหารคู่ใจของเขาอีกครั้ง ปีต่อมา ชูคอฟ ได้รับการแต่งตั้งเป็นรองผู้บัญชาการสูงสุด และส่งไปดูแลสตาลินกราด ซึ่งที่นี่ โซเวียตสามารถพิชิตกองทัพที่ 6 ของเยอรมนีลงได้สำเร็จ แม้จะต้องเสียทหารไปเป็นล้าน

ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2486 เขาดูแลการตีฝ่าการปิดล้อมเลนินกราดครั้งแรก ในเดือกรกฎาคมปีเดียวกัน ในบันทึกความทรงจำ ชูคอฟบอกว่าเขามีบทบาทสำคัญในการวางแผนการรบที่คุสค์ (Kursk) ที่ประสบความสำเร็จอย่างดีเยี่ยม โดยที่นี่กองทัพเยอรมันประสบความปราชัยในช่วงฤดูร้อนเป็นครั้งแรก จึงถือว่าเป็นชัยชนะที่มีความสำคัญเช่นเดียวกับที่สตาลินกราด

หลังจากนั้น ชูคอฟ ก็ดูแลเรื่องการปลดปล่อยการปิดล้อมเลนินกราดที่ประสบความสำเร็จ เดือนมกราคม พ.ศ. 2487 ชูคอฟ นำกองทัพโซเวียตในการรุกที่มีชื่อรหัสว่า ปฏิบัติการเบรเกรชั่น ซึ่งหลายคนมองว่าเป็นปฏิบัติการณ์ทางทหารที่สุดยอดที่สุดของสงครามโลกครั้งที่สอง เดือนเมษายน พ.ศ. 2488 กองทัพโซเวียตยึดกรุงเบอร์ลินได้ และเยอรมนียอมแพ้โดยไม่มีเงื่อนไข

หลังสงครามจบสิ้น ชูคอฟเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดของเขตยึดครองโซเวียตในเยอรมนี และเป็นผู้ว่าการทหารที่นั่น ความที่เขาเป็นที่นิยมชมชอบจากคนหลายฝ่ายอย่างมาก จึงมองกันว่าเขามีแนวโน้มเป็นอันตรายอย่างมากกับระบอบเผด็จการสตาลิน ปี พ.ศ. 2489 เขาจึงถูกเก็บเข้ากรุ และโดนย้ายมาเป็นผู้บัญชาการเขตการทหารโอเดสซา ซึ่งห่างไกลจากเมืองหลวง และไม่ค่อยมีความสำคัญทางยุทธศาสตร์ หลังการตายของสตาลิน เขาก็กลับมาได้รับความนิยมอีกครั้ง โดยได้ขึ้นเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมในปี พ.ศ. 2496 และเป็นรัฐมนตรีกระทรวงนี้ในปี พ.ศ. 2498

มิถุนายน พ.ศ. 2500 ชูคอฟ ได้ขึ้นเป็นสมาชิกคณะกรรมาธิการกลาง สภาเปรสซิเดียม แต่ถูกนิกิต้า ครุสชอฟ ผู้นำสหภาพโซเวียตยุคนั้นปลดจากกระทรวงและคณะกรรมาธิการกลางเดือนตุลาคมปีเดียวกัน เพราะความขัดแย้งทางนโยบายด้านการทหารหลายเรื่อง

หลังครุชชอฟถูกโค่นล้มเดือนตุลาคม พ.ศ. 2507 เบรชเนฟ ผู้นำประเทศคนใหม่ได้ฟื้นฟูความนิยมให้ชูคอฟอีกครั้ง แต่ไม่ฟื้นฟูอำนาจให้ชูคอฟกลับมาเป็นที่นิยมในโซเวียตจวบจนเสียชีวิตไปในปี พ.ศ. 2517 และศพของเขาถูกนำมาประกอบพิธีอย่างสมเกียรติ


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เป็นต่อ ขั้นเทพ เป็นข่าว ซีรีส์ คณะนิเทศศาสตร์ ซิทคอม ยีนเด่น (ละครโทรทัศน์) เฮง เฮง เฮง เป็นต่อ นักเขียนบท เจ้าชายฌัก รัชทายาทแห่งโมนาโก กาญจน์เกล้า ด้วยเศียรเกล้า วอลเลย์บอลชายทีมชาติไทย ปิยะรัฐ ตุ้นทัพไทย อรรถพร ธีมากร ไมเคิล คลาร์ก ดันแคน เจ้าพงศ์แก้ว ณ ลำพูน ระบบทศนิยมดิวอี้ ตึกนิวยอร์กเวิลด์ เทพมารสะท้านภพ ไทเก็ก หมัดทะลุฟ้า สุภาพบุรุษตระกูลหยาง ตำนานเดชนางพญางูขาว เจิ้ง เจียอิ่ง อู๋ จัวซี กู่ เทียนเล่อ มังกรคู่สู้สิบทิศ แม่พระปฏิสนธินิรมล เจมส์ ฟิกก์ ธัญยกันต์ ธนกิตติ์ธนานนท์ โกะโร อินะงะกิ ฉัตรชัย ดุริยประณีต ธงไชย แมคอินไตย์ คิม เบซิงเงอร์ จิม มอร์ริสัน เดวิด คาร์ราดีน บ๊อบ อารัม สมเด็จพระราชินีนาถคริสตินาแห่งสวีเดน พรรคประชาชนบรูไน แอมโบรสแห่งมิลาน รังสี ทัศนพยัคฆ์ คิเคโร เจ้าหญิงคาทารีนา-อะมาเลีย เจ้าหญิงแห่งออเรนจ์ บุษกร ตันติภนา จอห์น เทอร์รี เฟอร์นันโด วาร์กัส ช่วง มูลพินิจ พิศมัย วิไลศักดิ์ พระมเหสีจองซอง การโจมตีท่าเรือเพิร์ล กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น Grammy Awards Allmusic ซิงเกิล นักธุรกิจ แร็ปเปอร์ เลสลี นีลเซน มะสึโอะ บะโช นันทนัช โล่ห์สุวรรณ ผู้รักษาประตู สจวร์ต เทย์เลอร์ แดเนียล เฮนนีย์ แอนนา นิโคล สมิธ หลวงพ่อเกษม เขมโก ลี กวน ยู คริส โจนนาว ซิลเวอร์แชร์ เค.แมกซ์ ซินบี แตวุง เค-วัน นักมวยไทย อักษรฮันกุล นักบุญเดนิส ออสการ์ ชินด์เลอร์ เช เกบารา สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12 สมเด็จพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งยูโกสลาเวีย หทัยภัทร สมรรถวิทยาเวช พชร ธรรมมล คนึงพิมพ์ พรมกร แบรนดอน เราธ์ แผ่นดินถล่ม สิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดในโลก อนุสาวรีย์วอชิงตัน อำเภอเมืองสุพรรณบุรี ปริ๊นซ์ ออฟ เทนนิส แม่พระแห่งลูกประคำ เลย์ เซบัสเตียน โกอาเตส ตะวัน จารุจินดา แอรอน แอชมอร์ ชอว์น แอชมอร์ ชิลเบร์ตู ซิลวา ภาคภูมิ แจ้งโพธิ์นาค ซามี ฮูเปีย โทนี แบรกซ์ตัน ไซมอน โคเวลล์ วลาดิมีร์ ปูติน พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 1 แห่งเดนมาร์ก อาคารรัฐสภาไทย สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23406